THE DEFINITIVE GUIDE TO ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Definitive Guide to ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Definitive Guide to ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ไม่ใช่แค่ฝั่งของเจ้าหน้าที่เท่านั้น แม้กระทั่งผู้ปกครองก็ไม่ได้ตระหนักถึงการศึกษาที่ด้อยคุณภาพเช่นกัน พวกเขาจึงไม่ได้สนใจจะเรียกร้องให้โรงเรียนมีคุณภาพดีกว่าเดิม หรือกว่าที่พวกเขาจะตระหนักได้ ก็เป็นช่วงที่เด็กเรียนจบและเข้าสู่ตลาดแรงงานแล้ว จนทำให้หลายๆ คนเจอกับสภาวะที่เรียนจบมาแล้ว แต่กลับไม่มีทักษะเพียงพอในการทำงาน

แม้เด็กและเยาวชนจะได้มีโอกาสเข้าเรียนในการศึกษาระดับพื้นฐานที่สูงขึ้น แต่สถานศึกษาในแต่ละแห่งก็มีทรัพยากรทางการศึกษา ทั้งด้านอุปกรณ์การศึกษา บุคลากรทางการศึกษา มีความพร้อมในการให้การศึกษาที่มีคุณภาพแตกต่างกัน ดังที่เห็นได้ว่า โรงเรียนในเมืองมีความพร้อมกว่ามาก ต่างจากโรงเรียนชนบทขนาดเล็กที่ยังขาดแคลนอยู่มาก

ณัฐพงศ์ ศิริชนะ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก และอนุกรรมการการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ กสศ. กล่าวเสริมว่า การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยวิธีปกตินั้นมีความยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขปัญหาด้วยระบบราชการที่ต้องได้รับการสั่งการจากข้างบน ที่เปรียบเสมือนการตัดเสื้อตัวเดียวใช้ทั้งประเทศ ในขณะที่ปัญหาความเหลื่อมล้ำของแต่ละจังหวัดที่พบเจอนั้นมีความแตกต่าง

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

ปัญหาภาษาไทยที่ไม่ได้ถูกใช้อย่างต่อเนื่อง

ทุนการศึกษา ส่งน้องเรียน สร้างเด็กดี

การที่เราอยากมีส่วนร่วมในการสนับสนุน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา อาจทำได้ผ่านการสนับสนุนเป็นทุนทรัพย์ หรือการบริจาคอุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นต่อการศึกษาผ่านทางสถานศึกษาโดยตรง หรือผ่านทางโครงการของหน่วยงาน และองค์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำให้การช่วยเหลือไปถึงเด็กนักเรียน และโรงเรียนที่ยังขาดแคลนได้มีคุณภาพการเรียนการสอนที่ดีขึ้น

หากเราตั้งเป้าหมายว่าต้องการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กยากไร้ในทุกๆ กลุ่มให้เสมอภาคกัน เรื่องเหล่านี้ก็อาจกลายเป็นโจทย์สำคัญที่รัฐต้องหันมาทบทวนและค้นหาแนวทางการช่วยเหลือในอนาคต

ด้วยนักเรียนที่โรงเรียนเป็นเด็กชาติพันธุ์การใช้ภาษาไทยส่วนใหญ่จะอยู่ที่โรงเรียนเป็นหลัก พอกลับบ้านเด็ก ๆ จะแทบไม่ได้ใช้ภาษาไทย และยิ่งช่วงโควิดประกาศปิดการเรียนการสอน ทำให้ไม่สามารถมาเรียนได้และด้วยข้อจำกัดในการสื่อสารการเรียนการสอนออนไลน์ตัดขาดไปโดยปริยาย แต่ยังมีความโชคดีที่มีสื่อการเรียนการสอนพระราชทานในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ฯ  เป็นสื่อการเรียนการสอน-แบบฝึกหัดแบบออฟ-ไลน์ พกติดไปเวลาเยี่ยมบ้านพร้อมแบบฝึกหัดภาษาไทยเพื่อให้เด็กใช้ทบทวนและเรียนรู้ และในทุก ๆ สัปดาห์ครูอุ้ยจะเข้าไปเก็บกลับเพื่อตรวจการบ้านและนำชุดการเรียนรู้และแบบฝึกหัดชุดใหม่ไปให้เด็ก ๆ ทบทวน เพื่อเตรียมความพร้อมหากพ้นช่วงสถานการณ์โควิดแล้ว เด็ก ๆ จะไม่ลืมภาษาไทยที่เป็นภาษาหลักที่ใช้สื่อสารในโรงเรียน 

หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการคือผลิตทรัพยากรมนุษย์ทั้งในระบบ นอกระบบหรือตามอัธยาศัย ซึ่งขณะนี้ได้ขับเคลื่อนเรื่องธนาคารหน่วยกิตที่เป็นการสะสมหน่วยกิตจากผลการเรียน การฝึกอบรม ประสบการณ์ และทักษะ เพื่อเป็นโอกาสทางการศึกษาสำหรับทุกช่วงวัยนำไปใช้ต่อยอดในการศึกษาต่อ เพราะปัจจุบันไม่ใช่แค่การพัฒนาคุณวุฒิผู้เรียนเท่านั้น แต่ยังต้องมุ่งพัฒนาทักษะเด็กให้ทันโลกด้วย ที่สำคัญต้องไม่อัดวิชาการเกินหลักสูตรในโรงเรียน เพราะจะนำไปสู่การเรียนพิเศษที่สร้างความเหลื่อมล้ำได้

เมื่อกล่าวถึงความไม่เท่าเทียม และความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษาอาจทำให้มองเห็นภาพของความเหลื่อมล้ำไม่ชัดเจนมากนัก แต่เมื่อมองปัญหาที่ส่งผลให้เกิดความไม่เท่าเทียม อาจทำให้ภาพของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาแสดงออกมาได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยสะท้อนผ่านปัญหาในมิติต่างๆ ซึ่งแม้มีการพยายามแก้ไขเพื่อลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำ แต่กลับพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษายังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยปัญหาที่สะท้อนความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษา มีดังต่อไปนี้

ถึงตอนนี้ บางคนอาจตั้งคำถามว่าโรงเรียนเรียนขนาดเล็ก เด็กก็น้อย ทำไมครูต้องเพิ่มจำนวนให้เท่ากับเด็ก? ดร.อารีย์ ให้คำตอบว่าแม้จำนวนเด็กจะน้อย แต่พวกเขาก็เรียนคนละชั้น อายุไม่เท่ากัน นอกจากนี้ครูหลายคนยังมีภาระอื่นๆ นอกจากการสอน ทั้งทำกับข้าว ขับรถรับส่งก็มี บางแห่งยังทำหน้าที่เป็นภารโรง ครูหนึ่งคนจึงต้องรับภาระค่อนข้างเยอะและยังมีค่าสาธารณูปโภคที่ไม่แตกต่างกับโรงเรียนขนาดใหญ่อื่นๆ อีกด้วย

คน ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เราพบว่ามีการโยกย้ายอัตรากำลังไม่พอเพราะไม่ใช่คนพื้นถิ่น การทำโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่นที่ให้ครูมีโอกาสอยู่ใกล้บ้านตัวเอง ไม่ย้ายไปที่อื่นจะทำให้อัตรากำลังครูในโรงเรียนขนาดเล็กยั่งยืนมากขึ้น เป็นวิธีการหนึ่งในการหาครูเข้าพื้นที่

Report this page